foto1
foto1
foto1
foto1
foto1

administrator

Login Form

สถิติผู้เข้าชมเว็ปไซต์

250065
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่ผ่าน
เดือนนี้
เดือนที่ผ่านมา
ผู้ที่เข้าชมทั้งหมด
61
82
218
248998
4055
3808
250065

Your IP: 34.229.131.158
Server Time: 2023-05-30 15:39:08

เวลา

   กศน.ตำบลเทศบาลตำบลคำชะอี 

ข้อมูลทั่วไปของ กศน.ตำบลเทศบาลตำบลคำชะอี

ประวัติความเป็นมา กศน.ตำบลเทศบาลตำบลคำชะอี

  เทศบาลตำบลคำชะอีเดิมเป็นสุขาภิบาลคำชะอี จัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2499 ต่อมาได้รับยกฐานะเป็นเทศบาลตำบลคำชะอี ตาม พ.ร.บ.ยกฐานะสุขาภิบาล เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2542

ลักษณะทางกายภาพ

  เทศบาลตำบลคำชะอีตั้งอยู่ในเขตตำบลน้ำเที่ยง อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร ห่างจากตัวจังหวัดมุกดาหาร 35 กม. ห่างจากกรุงเทพมหานคร 680 กม. มีถนนสายหลักเชื่อมต่อตะวันออก – ตะวันตก  อ.แม่สอด จ.ตาก –พิษณุโลก – ขอนแก่น - มุกดาหาร – สู่อินโดจีน East West Corridor ผ่านพื้นที่เขตเทศบาล

อาณาเขต
พื้นที่ 3.66 ตร.ก.ม.
ทิศเหนือ           ติดเขตอบต.บ้านซ่ง
ทิศตะวันออก   ติดลำห้วยมุก อบต.น้ำเที่ยงและอบต.บ้านซ่ง
ทิศใต้              ติด อบต.น้ำเที่ยง
ทิศตะวันตก      ติด อบต.น้ำเที่ยง และอบต.บ้านเหล่า

ประชากรในเขตเทศบาล

ประชากร 2,530 คน

 เป็นชาย      1,231 คน

 เป็นหญิง    1,299 คน

       จำนวนครัวเรือน 992ครัวเรือน

  

untitled

 

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

สภาพทั่วไป

F ลักษณะที่ตั้งและอาณาเขต

ตำบลบ้านซ่ง มีเนื้อที่ประมาณ 19,996 ไร่ หรือประมาณ 31 ตร.กม. ตั้งอยู่ทางทิศ

ตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอคำชะอี และตั้งอยู่ห่างจากอำเภอคำชะอี ระยะทาง 2 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร ระยะทาง 33 กิโลเมตร มีอาณาเขตดังนี้ (รูปที่ 1)

F ภูมิประเทศ

          สภาพภูมิประเทศมีลักษณะเป็นพื้นที่ลอนลูกคลื่นสลับกับพื้นที่ราบลุ่ม ทางทิศตะวันตกมีภูเขาลาดเอียงไปทางทิศตะวันออก

  • ภูมิอากาศ

    สภาพภูมิอากาศของของตำบลบ้านซ่ง จัดอยู่ในลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน ซึ่ง

    แบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดผ่านทะเลและมหาสมุทร ทำให้มีอากาศชุ่มชื้นและฝนตกชุกและยังได้รับอิทธิพลความชุ่มชื้นแถบบริเวณลุ่มน้ำโขงอีกด้วย ส่วนฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะพัดเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งมา สำหรับฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายนซึ่งจะมีอากาศร้อนและอบอ้าว

    F เขตการปกครอง

              อาณาเขตทางทิศเหนือ       ติดต่อกับ ตำบลหนองเอี่ยน อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

              อาณาเขตทางทิศใต้           ติดต่อกับ อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

              อาณาเขตทางทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลเหล่าสร้างถ่อ อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

              อาณาเขตทางทิศตะวันตก   ติดต่อกับ ตำบลน้ำเที่ยง อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

    F จำนวนหมู่บ้าน   มีทั้งหมด 7  หมู่บ้าน  รวม 952 ครัวเรือน ดังนี้

  1. บ้านนาสีนวล        หมู่ที่ 1 จำนวนครัวเรือน                       83   ครัวเรือน

  2. บ้านซ่ง                หมู่ที่ 2 จำนวนครัวเรือน          249   ครัวเรือน

  3. บ้านโนนสังข์ศรี       หมู่ที่ 3 จำนวนครัวเรือน           96  ครัวเรือน

  4. บ้านโพธิ์ศรี            หมู่ที่ 4 จำนวนครัวเรือน          158  ครัวเรือน

  5. บ้านโนนก่อ           หมู่ที่ 5 จำนวนครัวเรือน            73  ครัวเรือน

  6. บ้านซ่ง                หมู่ที่ 6 จำนวนครัวเรือน          143  ครัวเรือน

  7. บ้านโนนสังข์ศรี       หมู่ที่ 7   จำนวนครัวเรือน      150  ครัวเรือน

    F จำนวนประชากร

              *จำนวนประชากรทั้งหมด 4,161 คน แยกเป็น ชาย 2,066 คน หญิง 2,095 คน

     

หมู่บ้าน

จำนวนประชากร(คน)

รวม

ชาย

หญิง

บ้านนาสีนวล หมู่ที่   1

บ้านซ่ง หมู่ที่ 2

บ้านโนนสังข์ศรี หมู่ที่ 3

บ้านโพธิ์ศรี หมู่ที่ 4

บ้านโนนก่อ หมู่ที่ 5

บ้านซ่ง หมู่ที่ 6

บ้านโนนสังข์ศรี หมู่ที่ 7

191

412

240

379

189

304

351

165

447

237

386

186

300

374

356

859

477

765

375

604

725

รวม

2,066

2,095

4,161

                                          หมายเหตุ   *ข้อมูล   ณ   เดือน มีนาคม พ.ศ. 2555

จำนวนประชากรตำบลบ้านซ่ง

                                          

แผนภูมิแสดงจำนวนประชากรแยกชายหญิงคิดเป็นร้อยละ

จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริง* ณ วันสำรวจ แยกตามช่วงอายุ

จากผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (จปฐ. 2) ปี 2555

บ้านนาสีนวล หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านซ่ง อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย

(คน)

จำนวนเพศหญิง

(คน)

จำนวนรวม

(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

1 ปีเต็ม – 2 ปี

3 ปีเต็ม – 5 ปี

6 ปีเต็ม – 11 ปี

12 ปีเต็ม – 14 ปี

15 ปีเต็ม – 17 ปี

18 ปีเต็ม – 25 ปี

26 ปีเต็ม - 49 ปีเต็ม

50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป

1

2

12

20

3

6

17

51

17

23

0

3

4

12

4

9

10

47

17

30

1

5

16

32

7

15

27

98

34

53

รวมทั้งหมด

152

136

288

หมายเหตุ * จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริงจากการสำรวจนี้ อาจไม่เท่ากับจำนวนประชากรทีมีอยู่ในทะเบียนบ้านได้

บ้านซ่ง  หมู่ที่ 2  ตำบลบ้านซ่ง อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย

(คน)

จำนวนเพศหญิง

(คน)

จำนวนรวม

(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

1 ปีเต็ม – 2 ปี

3 ปีเต็ม – 5 ปี

6 ปีเต็ม – 11 ปี

12 ปีเต็ม – 14 ปี

15 ปีเต็ม – 17 ปี

18 ปีเต็ม – 25 ปี

26 ปีเต็ม - 49 ปีเต็ม

50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป

3

6

12

25

21

20

30

100

54

38

3

7

8

21

13

15

27

111

45

59

6

13

20

46

34

35

57

211

99

97

รวมทั้งหมด

309

309

618

หมายเหตุ * จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริงจากการสำรวจนี้ อาจไม่เท่ากับจำนวนประชากรทีมีอยู่ในทะเบียนบ้านได้

บ้านโนนสังข์ศรี  หมู่ที่ 3  ตำบลบ้านซ่ง อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย

(คน)

จำนวนเพศหญิง

(คน)

จำนวนรวม

(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

1 ปีเต็ม – 2 ปี

3 ปีเต็ม – 5 ปี

6 ปีเต็ม – 11 ปี

12 ปีเต็ม – 14 ปี

15 ปีเต็ม – 17 ปี

18 ปีเต็ม – 25 ปี

26 ปีเต็ม - 49 ปีเต็ม

50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป

3

0

10

12

9

11

12

66

21

20

3

3

5

17

11

11

11

56

28

28

6

3

15

29

20

22

23

122

49

48

รวมทั้งหมด

164

173

337

หมายเหตุ * จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริงจากการสำรวจนี้ อาจไม่เท่ากับจำนวนประชากรทีมีอยู่ในทะเบียนบ้านได้

บ้านโพธิ์ศรี  หมู่ที่ 4  ตำบลบ้านซ่ง อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย

(คน)

จำนวนเพศหญิง

(คน)

จำนวนรวม

(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

1 ปีเต็ม – 2 ปี

3 ปีเต็ม – 5 ปี

6 ปีเต็ม – 11 ปี

12 ปีเต็ม – 14 ปี

15 ปีเต็ม – 17 ปี

18 ปีเต็ม – 25 ปี

26 ปีเต็ม - 49 ปีเต็ม

50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป

4

7

17

39

18

12

23

82

37

25

2

7

11

26

17

13

27

97

41

29

6

14

28

65

35

25

50

179

78

54

รวมทั้งหมด

264

270

534

หมายเหตุ * จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริงจากการสำรวจนี้ อาจไม่เท่ากับจำนวนประชากรทีมีอยู่ในทะเบียนบ้านได้

บ้านโนนก่อ  หมู่ที่ 5  ตำบลบ้านซ่ง อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย

(คน)

จำนวนเพศหญิง

(คน)

จำนวนรวม

(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

1 ปีเต็ม – 2 ปี

3 ปีเต็ม – 5 ปี

6 ปีเต็ม – 11 ปี

12 ปีเต็ม – 14 ปี

15 ปีเต็ม – 17 ปี

18 ปีเต็ม – 25 ปี

26 ปีเต็ม - 49 ปีเต็ม

50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป

0

1

6

11

9

3

15

40

19

18

0

4

9

16

4

1

11

46

17

18

0

5

15

27

13

4

26

86

36

36

รวมทั้งหมด

122

126

248

หมายเหตุ * จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริงจากการสำรวจนี้ อาจไม่เท่ากับจำนวนประชากรทีมีอยู่ในทะเบียนบ้านได้

บ้านซ่ง หมู่ที่ 6  ตำบลบ้านซ่ง อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย

(คน)

จำนวนเพศหญิง

(คน)

จำนวนรวม

(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

1 ปีเต็ม – 2 ปี

3 ปีเต็ม – 5 ปี

6 ปีเต็ม – 11 ปี

12 ปีเต็ม – 14 ปี

15 ปีเต็ม – 17 ปี

18 ปีเต็ม – 25 ปี

26 ปีเต็ม - 49 ปีเต็ม

50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป

0

9

6

29

12

18

19

69

34

31

3

2

6

17

13

10

12

69

33

44

3

11

12

46

25

28

31

138

67

75

รวมทั้งหมด

227

209

436

หมายเหตุ * จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริงจากการสำรวจนี้ อาจไม่เท่ากับจำนวนประชากรทีมีอยู่ในทะเบียนบ้านได้

บ้านโนนสังข์ศรี  หมู่ที่ 7  ตำบลบ้านซ่ง อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย

(คน)

จำนวนเพศหญิง

(คน)

จำนวนรวม

(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

1 ปีเต็ม – 2 ปี

3 ปีเต็ม – 5 ปี

6 ปีเต็ม – 11 ปี

12 ปีเต็ม – 14 ปี

15 ปีเต็ม – 17 ปี

18 ปีเต็ม – 25 ปี

26 ปีเต็ม - 49 ปีเต็ม

50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป

2

6

12

27

13

11

29

109

41

40

6

8

9

19

17

11

28

119

51

45

8

14

21

46

30

22

57

228

92

85

รวมทั้งหมด

290

313

603

หมายเหตุ * จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริงจากการสำรวจนี้ อาจไม่เท่ากับจำนวนประชากรทีมีอยู่ในทะเบียนบ้านได้

F สถานที่ท่องเที่ยว   สถานที่ท่องเที่ยวในเขตพื้นที่มีจำนวน 2 แห่ง ได้แก่

  1. ภูน้อย

                            

  2. บึงโพธิ์ศรี

    สภาพทางเศรษฐกิจ

    F อาชีพ

              ราษฎรในตำบลบ้านซ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวน และรับจ้าง เป็นต้น สำหรับพืชที่เพาะปลูกได้แก่ ข้าว ยางพารา อ้อย มันสำปะหลัง ฟักทอง มะเขือเทศ แตงโม และพืชผักสวนครัวอื่นๆ ในด้านปศุสัตว์นั้น มีการเลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อการบริโภคและจำหน่ายเป็นรายได้ให้แก่ครอบครัว ได้แก่ ไก่ เป็ด โค กระบือและปลา เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการรวมกลุ่มเพื่อทำหัตถกรรมพื้นบ้านเป็นอาชีพเสริมหลังจากเสร็จสิ้นฤดูเก็บเกี่ยวแล้ว เช่น การทอผ้า เย็บเสื้อเย็บมือ ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมของราษฎรในปัจจุบันนี้ เนื่องจากใช้เวลาน้อยและมีรายได้ดี

    F ครัวเรือนเกษตร ร้อยละ 95.29 ของครัวเรือนทั้งหมด

  • พื้นที่ทำการเกษตร เฉลี่ย 12.86 ไร่ต่อครัวเรือน

  • แรงงานภาคการเกษตร เฉลี่ย 3.0 คนต่อครัวเรือน

  • เครื่องมือการเกษตร ได้แก่ รถไถนาเดินตาม รถแทรกเตอร์ รถอีแต๋น และเครื่องสูบน้ำ ส่วน

    แรงงานสัตว์ ได้แก่ กระบือ เป็นต้น

    F รายได้ของประชากร

              จำแนกรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี *เรียงลำดับจากน้อยไปหามาก พ.ศ. 2554

    ตำบลบ้านซ่ง   อำเภอคำชะอี   จังหวัดมุกดาหาร

ลำดับของตำบล

หมู่บ้าน

รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี(บาท)

1

2

3

4

5

6

7

หมู่ที่   07 โนนสังข์ศรี

หมู่ที่ 05   โนนก่อ

หมู่ที่ 01   นาสีนวล

หมู่ที่ 04 โพธิ์ศรี

หมู่ที่ 06   ซ่ง

หมู่ที่ 02   ซ่ง

หมู่ที่ 03 โนนสังข์ศรี

30,533.84

33,633.68

37,743.89

40,468.06

47,973.92

58,535.08

271,703.61

เฉลี่ยรายได้ต่อคนต่อปีของคนในพื้นที่

67,848.78

  

                 **หมายเหตุ รายได้เฉลี่ยต่อคนในพื้นที่หนึ่งๆเป็นรายได้รวมของทุกครัวเรือนในพื้นที่นั้นหารด้วยจำนวนคนทั้งหมดในพื้นที่

                      

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สภาพทางสังคม

  • โครงสร้างพื้นฐาน

    1)   สาธารณูปโภค   ได้แก่

        (1) ไฟฟ้า มีไฟฟ้าใช้ทุกหมู่บ้าน

        (2) ประปา มีระบบประปาใช้ทุกหมู่บ้านแต่ยังไม่ทั่วถึง

        2) สถานบริการสาธารณะ ได้แก่

                      

  • (1) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                                           3 แห่ง

                       (2) โรงเรียนประถมศึกษา                     1 แห่ง

                       (3) โรงเรียนมัธยมศึกษา                       1 แห่ง

                       (4) สถานีอนามัย                               1 แห่ง

                       (5) ศูนย์ส่งเสริมราษฎรประจำหมู่บ้าน      7 แห่ง

                       (6) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน           1 แห่ง

                       (7) ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน       7 แห่ง

                       (8) วัดและสำนักสงฆ์(ศาสนาพุทธ)        10 แห่ง

              3) หน่วยธุรกิจ

                       (1) โรงสีข้าว                                  19 แห่ง

                       (2) ฉางข้าวหมู่บ้าน                            6 แห่ง

                       (3) ร้านค้าชุมชน                               7 แห่ง

                       (4) ปั๊มน้ำมันและก๊าซ                         2 แห่ง

                       (5) โรงผลิตปุ๋ยชีวภาพชุมชน                 1 แห่ง

                       (6) ร้านค้า                                    45 แห่ง         

    F ศาสนา

    - ผู้นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 100 ของประชากรทั้งหมด

    F บุคลากรการแพทย์ที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานพยาบาลทุกแห่ง ทุกสังกัดในพื้นที่

              - เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน   จำนวน 4 คน

              - อสม.                              จำนวน 99 คน

    F งานประเพณีท้องถิ่น (เรียงลำดับความสำคัญมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด)

  1. ประเพณีบุญพระเวสสันดร

  2. ประเพณีหมอเหยา

  3. ประเพณีเลี้ยงปู่ตา

  4. ประเพณีบุญบั้งไฟ

  5. ประเพณีบุญกองข้าว

  6. ประเพณีบุญข้าวประดับดิน

    การบริการพื้นฐาน

    F การคมนาคม

              - การคมนาคมระหว่างตำบลกับอำเภอใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2042

              - การคมนาคมระหว่างตำบลใช้ถนน รพช.สาย มห 3016 (บ้านซ่ง-คำผึ้ง)

              - ถนนภายในหมู่บ้านทุกหมู่บ้านส่วนใหญ่จะเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก

    F ประเภทของถนน

              - ถนนลาดยาง            จำนวน     1 สาย

              - ถนนคอนกรีต           จำนวน   10 สาย

              - ถนนลูกรัง               จำนวน  7 สาย

              - สะพาน                  จำนวน 2 แห่ง

    F การสื่อสาร

              - โทรศัพท์สาธารณะในพื้นที่                จำนวน    -   หมายเลข

              - ที่ทำการไปรษณีย์หมายเลข               จำนวน     - แห่ง

              - ระบบเสียงตามสาย/หอกระจายข่าว      จำนวน     7 แห่ง

    F แหล่งน้ำธรรมชาติ

              - หนอง,บึง                จำนวน   5   แห่ง

              - คลอง,ลำธาร,ห้วย       จำนวน   3   แห่ง ได้แก่ ห้วยน้อย ห้วยมุก ห้วยน้ำเช็ด

    F แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

              - ฝาย                     จำนวน              5   แห่ง

              - บ่อน้ำตื้นสาธารณะ     จำนวน           292 แห่ง

              - บ่อบาดาลสาธารณะ    จำนวน          16  แห่ง

              - สระน้ำสาธารณะ       จำนวน           4  แห่ง

              - ประปา                  จำนวน          5   แห่ง

    F ข้อมูลอื่นๆ

              ทรัพยากรในพื้นที่

                       ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ส่วนมากจะเป็นป่าไม้ ภูเขา และแหล่งน้ำ

              ข้อมูลกลุ่ม/องค์กร/กองทุนต่างๆในพื้นที่

                       - ลูกเสือชาวบ้าน                              2 รุ่น   300 คน

                       - ไทยอาสาป้องกันชาติ                       1 รุ่น     80 คน

                       - กองหนุนเพื่อความมั่นคง                   1 รุ่น   150 คน

                       - กองทุนหมู่บ้าน                              7 กองทุน

                       - โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน(กข.คจ.) หมู่ 1 60 คน

                       - กองทุนพัฒนาสตรี              หมู่บ้านละ 25,000.- บาท

                       - กลุ่มเกษตรกร                               1 กลุ่ม

                       - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร                      3 กลุ่ม

                       - กลุ่มยุวเกษตร                               1 กลุ่ม

                       - กลุ่มเพาะเห็ดฟาง                           1 กลุ่ม

                       - กลุ่มออมทรัพย์ร้านค้าชุมชน               3 กลุ่ม

                       - กลุ่มเพาะพันธุ์ปลา                          1 กลุ่ม

                       - กลุ่มปลูกถั่วลิสง                             1 กลุ่ม

                       - กลุ่มลี้ยงเป็ดเทศ                             1 กลุ่ม

                       - กลุ่มส่งเสริมผลิตภัณฑ์ข้าวชุมชน          1 กลุ่ม

                       - กลุ่มส่งเสริมประสิทธิภาพพืชไร่           1 กลุ่ม

                       - กลุ่มปุ๋ยชีวภาพชุมชน                      1 กลุ่ม

                       - กลุ่มอาชีพดอกไม้ประดิษฐ์                1 กลุ่ม

                       - กลุ่มอาชีพเย็บผ้า                           1 กลุ่ม

                       - กลุ่มอาชีพทำเฟอร์นิเจอร์                  1 กลุ่ม

                       - กลุ่มอาชีพทำลวดหนาม/หล่อเสาคอนกรีต 1 กลุ่ม

                       - ศูนย์สาธิตการตลาด                       6 ศูนย์

                       - กลุ่มอนุรักษ์ป่าชุมชนตำบลบ้านซ่ง      1 กลุ่ม

                       - กลุ่มอาสาปศุสัตว์ตำบลบ้านซ่ง           1 กลุ่ม

                       - สภาวัฒนธรรมตำบลบ้านซ่ง              1 แห่ง

    FFFFFFFFFFFFFF

 

untitled     

 บริบท ตำบลเหล่าสร้างถ่อ

 ตำบลเหล่าสร้างถ่อ อยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดมุกดาหาร และอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอ คำชะอี ระยะทางจากอำเภอ 12 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดมุกดาหาร 28 กิโลเมตร สภาพภูมิประเทศเป็นที่ดอนสลับกับที่ลุ่ม ตามริมฝั่งห้วยคำพิ้ง ห้วยผึ้ง พื้นที่สูงจาระดับน้ำทะเลเฉลี่ย 179 เมตร มีพื้นที่ประมาณ 33.52 ตารางกิโลเมตร และมีอาณาเขตติดต่อกับบริเวณใกล้เคียง ดังนี้

    -ทิศเหนือ            ติดกับเขตตำบลผึ่งแดด              อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร

-ทิศใต้                ติดกับเขตตำบลนาโสก               อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร

-ทิศตะวันออก    ติดกับเขตตำบลผึ่งแดด               อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร

-ทิศตะวันตก       ติดกับเขตตำบลบ้านซ่ง               อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

-ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับเขตตำบลหนองเอี่ยน อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

ลักษณะภูมิประเทศ

ตำบลเหล่าสร้างถ่อมีสภาพภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มและเหมาะแก่การทำการเกษตรโดยเฉพาะการทำนาพื้นที่ตอนกลางของตำบลเป็นพื้นที่ตั้งของชุมชนต่างๆ มีลำน้ำห้วยมุกไหลผ่านทางด้านทิศเหนือของตำบลไหลลงสู่แม่น้ำโขง และมีแหล่งน้ำที่สำคัญ คือ ห้วยปอพาน, ห้วยถ้ำเจีย, ห้วยวังยาง, ห้วยนาโพธิ์, ห้วยนาหนู และห้วยหลง

เขตการปกครอง   ตำบลเหล่าสร้างถ่อ แบ่งการปกครองออกเป็น 7 หมู่บ้าน ดังนี้

หมู่ที่ 1  บ้านเหล่าสร้างถ่อ     โดยมี นายปรีชา     บุญรักษ์          เป็นผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 2  บ้านเหล่าสร้างถ่อ     โดยมี นายสมบัติ   บุญรักษ์           เป็นผู้ใหญ่บ้าน/กำนัน

หมู่ที่ 3  บ้านโคกสว่าง           โดยมี นายวัฒนพงษ์   คนเพียร     เป็นผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 4  บ้านหนองไฮ           โดยมี นายอัด   คนเพียร                 เป็นผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 5  บ้านหนองไฮ           โดยมี นายสนิท รูปคม                    เป็นผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 6  บ้านเหล่าสร้างถ่อ     โดยมี นายฝั่น คนเพียร                 เป็นผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 7  บ้านโคกสว่าง           โดยมี นายคูณ     บุตรโคตร          เป็นผู้ใหญ่บ้าน

จำนวนประชากร 

        ประชากรใน พ.ศ. 2558   ตำบลเหล่าสร้างถ่อมีประชากรทั้งสิ้น 4,030 คน มีจำนวนครัวเรือน 995 ครัวเรือนความหนาแน่นเฉลี่ย 120 คน/ตารางกิโลเมตร ประชากรแต่ละหมู่บ้านและครัวเรือน ดังนี้

หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ชาย หญิง รวม ครัวเรือน
1 บ้านเหล่าสร้างถ่อ 328 286 614 151
2 บ้านเหล่าสร้างถ่อ 345 340 685 178
3 บ้านโคกสว่าง 255 238 493 133
4 บ้านหนองไฮ 345 327 672 167
5 บ้านหนองไฮ 231 247 478 105
6 บ้านเหล่าสร้างถ่อ 321 317 638 146
7 บ้านโคกสว่าง 214 236 450 115
รวม 2,039 1,991 4,030 995

 

 สภาพทางเศรษฐกิจ

       ประชากรส่วนใหญ่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าสร้างถ่อ ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรม โดยการทำนาเป็นอาชีพหลักและปลูกพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ปลูกข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ยางพารา ลำไย กล้วย และผักต่างๆการเลี้ยงสัตว์ส่วนใหญ่ เลี้ยงโค และกระบือเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่สำคัญ และเลี้ยงสุกร ไก่ เป็ด และปลาไว้เป็นอาหารและไว้ขาย

  สภาพสังคม

       ด้านการบริการศึกษาในปัจจุบันตำบลเหล่าสร้างถ่อ มีการบริการด้านการศึกษาเฉพาะในระดับก่อนอนุบาล ประถมศึกษา และโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และที่อ่านหนังสือพิมพ์ หอกระจายข่าว

ข้อมูลทั่วไปของ กศน.ตำบลเหล่าสร้างถ่อ         

       ประวัติความเป็นมา

การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ. 2552-2561) ได้ให้ความสำคัญเรื่องการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารจัดการเพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพ ให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ”

กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้มีนโยบายให้มีการจัดตั้ง กศน.ตำบลขึ้นเพื่อให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบล เป็นแหล่งเรียนรู้ สำหรับประชาชนเพื่อประชาชนได้ใช้ในการแสวงหาความรู้เพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้

กศน.ตำบลเหล่าสร้างถ่อได้รับการประกาศจัดตั้งให้เป็น กศน.ตำบล เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2552 โดยได้รับการสนับสนุน จากองค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าสร้างถ่อ ให้ใช้อาคารขององค์การบริหารส่วนตำบลหลังเก่าเป็นที่ทำการ และมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ.2553 โดยมี นายคมกริช เสาใบ ตำแหน่งครูศูนย์การเรียนชุมชน เป็นครูประจำ กศน.ตำบลเหล่าสร้างถ่อ ในขณะนั้นเมื่อปี พ.ศ.2553 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาอัธยาศัย ได้มีคำสั่งแต่งตั้งให้ นายภุชพงษ์ ผิวผ่อง ตำแหน่ง ครู กศน. ตำบล ไปประจำ กศน.ตำบลเหล่าสร้างถ่อ และปัจจุบัน นางสาวจุฑาทิพย์ พิลาบุตร   หัวหน้า กศน.ตำบลเหล่าสร้างถ่อ

ทำเนียบ หัวหน้าครู กศน.ตำบลเหล่าสร้างถ่อ

1. นายคมกริช เสาใบ  ปี 2552 - 2553

2. นายภุชพงษ์ ผิวผ่อง   ปี 2553 - 2554

3. นางสาวจุฑาทิพย์ พิลาบุตร ปี 2554 – ปัจจุบัน

1.บุคลากร

1.1) หัวหน้า กศน.ตำบล   ชื่อนางสาวจุฑาทิพย์ นามสกุล พิลาบุตร เบอร์โทรศัพท์ 083-2223007 ปฏิบัติงานประจำพื้นที่ ทุก วัน เวลาจันทร์ - ศุกร์ สถานที่ กศน.ตำบลเหล่าสร้างถ่อ ตำบลเหล่าสร้างถ่อ จังหวัดมุกดาหาร เวลา 08.00 - 16.00 น.   ยกเว้นวันพฤหัสบดี ปฏิบัติงานที่ กศน.อำเภอคำชะอี

1.2) ครูศูนย์การเรียนชุมชน (ครู.ศรช) ชื่อนางสาวเพ็ญนภา นามสกุล ภูมิลา เบอร์โทรศัพท์ 087-2040736 ปฏิบัติงานประจำพื้นที่ ทุก วัน เวลา จันทร์ - ศุกร์ สถานที่. ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองไฮ ตำบลเหล่าสร้างถ่อ จังหวัดมุกดาหาร เวลา 08.00 - 16.00 น. ยกเว้นวันพฤหัสบดี ปฏิบัติงานที่ กศน.อำเภอคำชะอี

2. คณะกรรมการ กศน.ตำบล

1 นายครองรัก บุญรักษ์             ประธานกรรมการ

2 นายเวิน คนเพียร                   รองประธานกรรมการ

3 นายทาษ คนเพียร                 กรรมการ

4 นายเริ่ม ฤทธิวงค์                   กรรมการ

5 นายสมบัติ บุญรักษ์               กรรมการ

6 นางสาวจงจิตร สารสิทธิ์           กรรมการ

7 นายรากี บุญรักษ์                   กรรมการ

8 นายเริ่ม สุพร                       กรรมการ

9 นายประยง บุญรักษ์               กรรมการ

10 นายสนิท รูปคม                 กรรมการ

         11 นายพิมูล สาฤาศรี                 กรรมการ

12 นายหน ศรีทอง                  กรรมการ

13 นายคูณ บุตรโคตร               กรรมการ

14 นายโชคดี สาลีศรี                 กรรมการ

15 นายขวัญชัย ฤทธิวงค์             กรรมการ

16 นางสมร คนเพียร                 กรรมการ

17 นางวิลัยวัลย์ รัตนวงค์           กรรมการ

18 นางสาวจุฑาทิพย์ พิลาบุตร     กรรมการและเลขานุการ

19 นางสาวเพ็ญนภา ภูมิลา         ผู้ช่วยกรรมการและเลขานุการ

3. อาสาสมัคร กศน.ตำบล

1. นายมุก บุญรักษ์

2. นายสมศักดิ์ ภูแลศรี

3. นางนิตยา มาตรหงษา

4. นายมาก คนเพียร

5. นางสาวอารียา คนเพียร

6. นายเทียน พันธบุตร

7. นางนิรัญญา สันลักษณ์

4. องค์กรนักศึกษา กศน.ตำบลเหล่าสร้างถ่อ

1. นายมุก บุญรักษ์

2. นายเทียน พันธุบุตร

3. นางนาง ภูจาก

4. นางสาวสุพัตรา อาจหาญ

5. นางกมลรัตน์ จันทร์ทาทอง

6. นางสาวรัฐนันท์ คนเพียร

7. นางสกุลรัตน์ คนเพียร

8. นายณรงค์ แก้วมาตร

9. นางสมจิตร ไชยสัตย์

10. นางประวัติ ศรีสุภา

11. นายเรืองชัย คนเพียร

12. นางสาวอารียา คนเพียร

              ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 สรุปรายละเอียด ดังนี้

              1. จำนวนนักศึกษาที่สมัครและลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนนี้

ระดับ จำนวนนักศึกษา

รวม      

(คน)

หลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชาย   (คน) หญิง   (คน)
มัธยมศึกษาตอนต้น 13 14 27
มัธยมศึกษาตอนปลาย 22 16 38
รวม 35 30 65

   

 

untitled

ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป

ประวัติความเป็นมา :
    ตำบลหนองเอี่ยน มีชนกลุ่มหนึ่งได้อพยพหนีข้ามแม่น้ำโขงมาจากบ้านวัวแดง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เฒ่าไชยปัญญาได้พาพรรคพวกออกสำรวจภูมิประเทศ ตามชายป่าริมห้วยแข้ จึงเห็นว่าเป็นทำแลที่เหมาะสมในการทำนา ทำสวน ทำไร่ และเป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์มีป่ารกทึบหนาแน่น ประกอบกับมีห้วยหนองคลองผ่าน มีสัตว์น้ำและสัตว์ป่ามากมาย จึงได้ตกลงกันเข้ามาอาศัย และตั้งชื่อหมู่บ้านตามหนองน้ำที่ใกล้หมู่บ้าน ซึ่งหนองน้ำนั้นมีปลาอยู่มากมายหลายชนิด แต่มีปลาไหลมากเป็นพิเศษ จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า "บ้านหนองเอี่ยน" ต่อมามีผู้อพยพมาอยู่กันมากขึ้นจนกลายเป็นหมู่บ้านใหญ่ ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นตำบลหนองเอี่ยน มาจนถึงปัจจุบัน

 

แบ่งเขตการปกครอง

เป็น ๑๐ หมู่บ้าน จำนวนประชากรในเขต ตำบลหนองเอี่ยน ๕,๓๗๖ คน

กำนันตำบลหนองเอี่ยน ชื่อ นายนิวัฒน์ แก้วดี

หมู่

ชื่อบ้าน

ประชากร

ชื่อผู้ใหญ่บ้าน

ชาย

หญิง

หมู่ที่ ๑

บ้านหนองเอี่ยน

๓๗๙

๓๘๐

นายสมเดช สุพร

หมู่ที่ ๒

บ้านหนองเอี่ยน

๓๑๙

๒๘๓

นางพรรณี แสนจันทร์

หมู่ที่ ๓

บ้านหนองอินหม่อน

๓๓๒

๓๐๘

นายระพิน รัตนวงค์

หมู่ที่ ๔

บ้านทุ่งนางหนาย

๒๗๘

๒๙๙

นายสมบูรณ์ นามบุตร

หมู่ที่ ๕

บ้านหนองบง

๒๙๒

๒๗๑

นายโจม รัตนวงค์

หมู่ที่ ๖

บ้านนาหลวง

๒๓๓

๒๖๐

นายนิวัฒน์ แก้วดี

หมู่ที่ ๗

บ้านหัวขัว

๒๒๗

๒๕๒

นายศรีสมหวัง คนหาญ

หมู่ที่ ๘

บ้านนาหลวง

๑๔๓

๑๖๒

นายสมพิศ สุพร

หมู่ที่ ๙

บ้านหนองบง

๒๗๙

๒๖๖

นายเฉลิม รัตนวงค์

หมู่ที่ ๑๐

บ้านหนองเอี่ยน

๑๔๒

๑๗๑

นายพิทัก ตรงดี

รวม

,๖๒๑

,๗๕๒

,๓๗๖

 

ศาสนสถาน

ที่

ประเภท

ชื่อศาสนสถาน

ชื่อเจ้าอาวาส / สำนักสงฆ์

วัด

สำนักสงฆ์

.

 

/

วัดประดิษฐาราม

พระครูสิทธิการ โกวท

.

 

/

วัดศรีฐาน

พระอธิการสมชิต ธีรปญโญ

.

/

 

วัดศรีโพธิ์ไทร

พระครูนิโครธ โพธิวัฒน์

/

 

วัดศรีษะตะพาน

พระอธิการเคน เขมิโก

/

 

วัดศรีอุบล(ศรีอุบลวนาราม)

พระอธิการบุญมี ฐิติคุโณ

 

/

วัดโพนสว่าง

พระอธิการสว่าง วรธมโม

 

/

วัดป่าพุทธธรรมหัวขัว

พระสมสิทธิ์ ปภสสโร

 

/

วัดอินแปลง

พระครูสุนทร วรรณคุณ

 

/

ป่าช้าหนองดินดำ

พระอาจารย์สิงห์ทอง

อาณาเขต

          Äทิศเหนือ      ติดต่อกับ ต.บ้านค้อ, โพนงาม อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร

          Äทิศใต้         ติดต่อกับ ต.เหล่าสร้างถ่อ, บ้านซ่ง อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร    

          Äทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.ผึ่งแดด อ.เมือง จ.มุกดาหาร

          Äทิศตะวันตก  ติดต่อกับ ต.บ้านซ่ง อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร 

ลักษณะภูมิประเทศ

มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๑๐,๓๒๕ ไร่ หรือประมาณ ๑๖ ตารางกิโลเมตร ตำบลหนองเอี่ยนมีพื้นที่ทั้งหมดเป็นพื้นที่ราบสม่ำเสมอ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทำการเกษตรมีลำห้วยไหลผ่านหลายสาย

  - พื้นที่ทำการเกษตร         ไร่   ร้อยละ ๙๐ %

   - พื้นที่ทำการเลี้ยงสัตว์     ไร่  ร้อยละ ๕ %

   - พื้นที่   รกร้างว่างเปล่า    ไร่  ร้อยละ ๕ %

การปกครองส่วนท้องถิ่น

   เป็นองค์การบริหารส่วนตำบล / เทศบาลตำบล

          นายกองค์การบริหารส่วนตำบลชื่อ นายสุระนาวา ลุนเวลา

          รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลชื่อ นายณรงค์ เทพศรีหา

รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลชื่อ นางมิตธิลา ตรงดี

เลขานายกองค์การบริหารส่วนตำบลชื่อ นางจันทาลี มีธรรม

          ประธานสภาชื่อ นายประดิษฐ์ รัตนวงค์

สภาพทางเศรษฐกิจ

          ๑. อาชีพทางการเกษตร ตำบลหนองเอี่ยน มีพื้นที่เกษตรทั้งสิ้น ๑๐,๓๒๕ ไร่    

ครอบครัวการเกษตร ๑,๔๓๗ ครอบครัว สภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจ ที่สำคัญ ๆ จำแนกได้ ดังนี้

พืชเศรษฐกิจ

พื้นที่เพาะปลูก
(ไร่)

ผลผลิตเฉลี่ย
(ก.ก./ไร่/ปี)

จำนวนครัวเรือน

ข้าว

มันสำปะหลัง

อ้อย

ยางพารา

อื่น ๆ……

,๐๘๐

๒๓๕

๒๔๕

๔๐๐

๓๖๕

,๒๔๕

๔๒

๓๐

๑๒๐

               กลุ่มอาชีพ หรือสถานประกอบการ

ที่

ชื่อกลุ่ม

สมาชิก

(คน)

ที่ตั้ง

ชื่อประธานกลุ่ม

อาชีพกระเป๋าเย็บมือ

๒๐

.๒ ตำบลหนองเอี่ยน

นางพรรณี แสนจันทร์

กลุ่มทอเสื่อกก

๒๐

.๙ ตำบลหนองเอี่ยน

นางจันทาสี มีธรรม    

กลุ่มสานตะกร้าพลาสติก

๒๕

.๙ ตำบลหนองเอี่ยน

นางพัด ลอนดอน

สี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมน:    แหล่งท่องเที่ยว


สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยวในเขตพื้นที่มีจำนวน ๔ แห่ง ได้แก่

IMG_1234IMG_1232

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๑.โบสถ์ที่เล็กที่สุดในประเทศ หมู่ ๗

๒.ต้นมะค่าโมง หมู่ ๖

IMG_1224.jpgIMG_1225.jpg

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

.หนองดินดำ หมู่ ๖ หมู่ ๘

102_3363.JPG102_3368.JPG

 

๔.บึงหนองบง หมู่ ๕ หมู่ ๙

IMG_2176.JPG   IMG_2185.JPG     

การศึกษา  

  จำนวนสถานศึกษา

ที่

ชื่อ

จำนวน นร./นศ.

จำนวนครู

ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา

.

กศน.ตำบลหนองเอี่ยน

๖๐ คน

๑ คน

นางสาวปัทมา ถิ่นระหา

โรงเรียนบ้านหนองเอี่ยน

๒๑๕ คน

๑๕ คน

ผอ.วรเษฐ์ พันโกฎิ

.

โรงเรียนบ้านนาหลวง๑

๘๖ คน

๖ คน

ผอ.สุดารัตน์ ศรีเฉลียว

.

โรงเรียนบ้านหนองบง

๑๓๘ คน

๑๑ คน

ผอ.ประยุทธ ศรีแสน

.

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาหลวง

๓๐ คน

๓ คน

นางญดาวรรณ รัตนวงค์

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวขัว

๒๗ คน

๓ คน

นางเจนจิตต์ ชาติไชยภูมิ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบง

๒๖ คน

๓ คน

นางเกียรติ์ศรี ทัศมี

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งนางหนาย

๓๘ คน

๕ คน

นางพนัต ลัดรวรรณ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองเอี่ยน

๓๐ คน

๓ คน

นางสาววงค์ธิพา พิกุลศรี

        

การศาสนา

 - ประชากรนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๑๐๐ %

 - นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๑๐๐ %

สี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมน: ๒.  ข้อมูลทั่วไปของ กศน.ตำบลหนองเอี่ยน

 

ประวัติ

    ๒.๑การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) ได้ให้ความสำคัญเรื่องการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารจัดการเพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพ ให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ”

   กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้มีนโยบายให้มีการจัดตั้ง กศน.ตำบลขึ้นเพื่อให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบล เป็นแหล่งเรียนรู้ สำหรับประชาชนเพื่อประชาชนได้ใช้ในการแสวงหาความรู้เพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้

๒. ๒ ความหมาย

   กศน.ตำบล หมายถึง หน่วยจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ตั้งอยู่ในระดับตำบล/แขวง

๒.๓ หลักการ

   หลักการทำงาน กศน. ตำบล ยึดชุมชนเป็นฐานในการทำงานและการเรียนรู้ โดยใช้ต้นทุนของชุมชน เช่น อาคาร สถานที่ แหล่งวิทยาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี มีการประสานเครือข่ายในชุมชนร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในชุมชน/สังคม เข้ามามีส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดำเนินการจัดกิจกรรม กศน. ตำบล ทั้งในฐานะผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้เรียนและชุมมชน มีคณะกรรมการ กศน. ตำบล ที่เป็นคนในชุมชนให้การส่งเสริมสนับสนุน ติดตามดูแลและร่วมประเมินผลการดำเนินงาน กศน. ตำบล กศน.ตำบลหนองเอี่ยน จัดตั้งขึ้นมื้อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๓   โดยมีครู นางสาวนงคราญ ศรีบุรมย์ครูศรช.และ นายศิริพัฒน์ ยืนยง ครู ศรช. ในปี ๒๕๕๔ นางสาวเจนจิรา มหุนีได้ย้ายมาดำรงตำแหน่งแทนนางสาวนางคราญ ศรีบุรมย์ และปัจจุบันปี๒๕๕๗ นางสาวปัทมา ถิ่นระหา เป็นหัวหน้า กศน.ตำบลหนองเอี่ยน

๒.๔ วัตถุประสงค์

กศน. ตำบล จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

       ๑) เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ

       ๒) เพื่อสร้างและขยายภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน

       ๓) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของภาคีเครือข่าย

       ๔) เพื่อประสานและเชื่อมโยงการดำเนินงานจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชนและภาคประชาชน

 

                     
    สี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมน: ภูมิทัศน์ กศน.ตำบลหนองเอี่ยน
 
     
 
     
 
 
   

 

 

 

 

 

 

สรุปข้อมูลของ กศน.ตำบลหนองเอี่ยน…………………………./

สรุปข้อมูลของ กศน.ตำบลหนองเอี่ยน

  1. ครู / บุคลากรทั้งสิ้น ๒๔ คน ประกอบด้วย

             ครู กศน.ตำบล (หัวหน้า กศน.ตำบล ) นางสาวปัทมา ถิ่นระหา จำนวน ๑ คน

             ครูศรช. นางสาวสุพัตรา คนหาญ จำนวน ๑ คน

             ครูประจำกลุ่ม กศน.จำนวน - คน

             อาสาสมัคร กศน.จำนวน ๑๐ คน

             อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน (อสอ.)จำนวน ๑๐ คน

             วิทยากรวิชาชีพ ๒ คน

                 ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนชื่ออาชีพ

    ๑. สถานที่จัดตั้ง หมู่ที่ ๒ บ้านหนองเอี่ยน การทำกระเป๋าเย็บด้วยมือ ณ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

    ๒ สถานที่จัดตั้ง หมู่ที่ ๙ บ้านหนองบง การทอเสื่อกก ณ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

    สี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมน: ทำเนียบคณะกรรมการพัฒนา กศน.ตำบล


ที่

ชื่อ - นามสกุล

หน้าที่

ตำแหน่ง

๑.

นายแก่ง คล่อง

ประธานคณะกรรมการ

อดีตกำนันตำบลหนองเอี่ยน

๒.

นายประเสริด คล่องแคล่ว

รองประธานคณะกรรมการ(ชาย)

นักศึกษา

๓.

นางพรรณี แสนจันทร์

รองประธานคณะกรรมการ(หญิง)

นักศึกษา

๔.

นายบุญรัก คล่องแคล่ว

เลขานุการ

นักศึกษา

๕.

นายไพรัตน์ รัตนวงค์

ประชาสัมพันธ์

นักศึกษา

๖.

นายสมเดช สุพร

เหรัญญิก

นักศึกษา

๗.

นายสัญญา สุพร

ผู้ทรงคุณวุฒิ

นักศึกษา

๘.

นายระพิน รัตนวงค์

ผู้ทรงคุณวุฒิ

นักศึกษา

นายดารุณ รัตนวงค์

กรรมการ

นักศึกษา

๑๐

นายสมบูรณ์ นามบุตร

กรรมการ

นักศึกษา

๑๑

นายอุทัย สุพร

กรรมการ

นักศึกษา

๑๒

นายเปี้ยน รัตนงวค์

กรรมการ

นักศึกษา

๑๓

นางวันดี คนคล่อง

กรรมการ

นักศึกษา

๑๔

นายนิวัฒน์ แก้วดี

กรรมการ

กำนันตำบลหนองเอี่ยน

๑๕

นายเทวี คล่องดี

กรรมการ

อดีตนายกอบต.หนองเอี่ยน

๑๖

นายทองพิตร สลางสิงห์

กรรมการ

นักศึกษา

๑๗

นายประมวล คล่องดี

กรรมการ

นักศึกษา

๑๘

นายสงคราม ตรงดี

กรรมการ

นักศึกษา

๑๙

นายพิทัก ตรงดี

กรรมการ

ผู้ใหญ่บ้าน ม.๑๐

๒๐

นายทุ่ม รัตนวงค์

กรรมการ

นักศึกษา

๒๑

นางสาวสายสมร พ่อธานี

กรรมการ

นักศึกษา

๒๒

นางสาวเอื้อมพร ศรีเจริญ

กรรมการ

ครูศูนย์เด็ก

๒๓

นางสาวปัทมา ถิ่นระหา

กรรมการ

ครูกศน.ตำบล

๒๔

นางเกสร แสนสุข

กรรมการที่ปรึกษา

ครูอาสาฯ

 

สี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมน: ทำเนียบองค์กรนักศึกษา